การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การเคลื่อนไหวของพืช
ก. การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต (GROWTH MOVEMENT)
1. การเคลื่อนไหวอัตโนมัติ (AUTOMATIC MOVEMENT) มีออกซิเจนเป็นตัวกระตุ้น
- NUTATION การเคลื่อนไหวแบบสั่น เป็นการส่ายของพืชที่เกิดจากส่วนต่างๆของปลายยอดพืชเจริญเติบโตไม่เท่ากัน เช่น ต้นถั่ว
- CIRCUMNUTATION (SPIRALMOVEMENT) เป็นการเคลื่อนไหวแบบบิดเป็นเกลียว ขณะเจริญเติบโต เช่น เถาวัลย์
การเคลื่อนไหวของพืช
ก. การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต (GROWTH MOVEMENT)
1. การเคลื่อนไหวอัตโนมัติ (AUTOMATIC MOVEMENT) มีออกซิเจนเป็นตัวกระตุ้น
- NUTATION การเคลื่อนไหวแบบสั่น เป็นการส่ายของพืชที่เกิดจากส่วนต่างๆของปลายยอดพืชเจริญเติบโตไม่เท่ากัน เช่น ต้นถั่ว
- CIRCUMNUTATION (SPIRALMOVEMENT) เป็นการเคลื่อนไหวแบบบิดเป็นเกลียว ขณะเจริญเติบโต เช่น เถาวัลย์
การเคลื่อนไหวอัตโนมัติ (Autonomic
Movement)เป็นการเคลื่อนไหวของพืชอันเนื่องมาจากสิ่งเร้าภายใน คือ Plant
Hormone หรือ Auxin ไดแก่ Iaa (Idole
Acetic Acid) สร้างจากบริเวณเนื้อเยื่อเจริญของพืชที่ยอดอ่อนและราก ทำให้กลุ่มเซลล์ที่อยู่ข้างเคียงขยายตัวยืดยาวออกไป
ได้แก่ Nutation และ Spiral Movement
1.1Nutation เป็นการเคลื่อนไหวแบบที่มีปลายยอดเอนหรือแกว่งไปมา เมื่อพืชเจริญเติบโตขึ้นทีละน้อย
2.2Spiral Movement เป็นแบบที่มีปลายยอดค่อยๆ บิดเป็นเกลียวขึ้นไป เมื่อพืชเจริญเติบโตขึ้น เพื่อที่จะพันหลักหรือต้นไม้อื่น เรียกว่า Twining เช่น การพันหลักของลำต้นถั่ว การเคลื่อนไหวอัตโนมัตินี้แม้ว่าสิ่ง แวดล้อมจะเปลี่ยนไป เช่น เวลากลางวันหรือกลางคืนแสงมากหรือน้อย ลำต้นก็จะงอกเอนบิดไปช้าๆ เช่นนั้นเรื่อยไป เหตที่มันเคลื่อนไหวดังกล่าวนี้เป็นเพราะเซลล์ในบริเวณของการยืดตัวในลำต้น มีการยืดตัวหรือเติบโตไม่เท่ากัน สิ่งเร้าภายในที่มากระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวเกิดขึ้น ก็คือ ฮอร์โมนพืชประเภท Auxin
1.1Nutation เป็นการเคลื่อนไหวแบบที่มีปลายยอดเอนหรือแกว่งไปมา เมื่อพืชเจริญเติบโตขึ้นทีละน้อย
2.2Spiral Movement เป็นแบบที่มีปลายยอดค่อยๆ บิดเป็นเกลียวขึ้นไป เมื่อพืชเจริญเติบโตขึ้น เพื่อที่จะพันหลักหรือต้นไม้อื่น เรียกว่า Twining เช่น การพันหลักของลำต้นถั่ว การเคลื่อนไหวอัตโนมัตินี้แม้ว่าสิ่ง แวดล้อมจะเปลี่ยนไป เช่น เวลากลางวันหรือกลางคืนแสงมากหรือน้อย ลำต้นก็จะงอกเอนบิดไปช้าๆ เช่นนั้นเรื่อยไป เหตที่มันเคลื่อนไหวดังกล่าวนี้เป็นเพราะเซลล์ในบริเวณของการยืดตัวในลำต้น มีการยืดตัวหรือเติบโตไม่เท่ากัน สิ่งเร้าภายในที่มากระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวเกิดขึ้น ก็คือ ฮอร์โมนพืชประเภท Auxin
1. ออกซิน (Auxin) ออก ซินเป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญบริเวณยอดอ่อน
แล้วแพร่จากยอดอ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ด้านล่าง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
1. ออกซิน ธรรมชาติ (Natural Auxin)
Indole-3-Acetic Acid (IAA)
Indole-3-Butyric Acid (IBA)
2. ออกซิน สังเคราะห์ (Synthetic Auxin)
Naphthalene Acetic Acid (NAA)
2,4-Dicholophenoxy acetic acid (2,4-D)
2,4,5-Trichlorophenoxy acetic acid (2,4,5-T)
หน้าที่คือ
1. กระตุ้นเซลล์ของเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้ขยายขนาดทำให้เจริญเติบโตสูงขึ้น
2. ออกซินมีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง
1) การศึกษาการตัดตาออ่นของพืช
ก ข ค
รูปแสดงการทดลองตัดยอดพืช
ก. ต้นที่เจริญตามปกติ
ข. ต้นที่ตัดยอดออก
ค. ต้นที่ตัดยอดออกแล้วนำชิ้นวุ้นที่มีออกซินมาวางไว้
รูปการตอบสนองของราก
ตา และลำต้น ต่อความเข้มข้นของออกซินระดับต่าง ๆ
สรุปว่า
ถ้าออกซินเข้มข้นมาก จะยับยั้งการเจริญของตาแต่เมื่อตัดยอดออกไป จึงขาดแหล่งสร้างออกซินที่จะยับยั้งการเจริญของตาข้าง
ทำให้ตาข้างเจริญได้ดี
รูปภาพแสดงการเร่งรากของกิ่งเมื่อใช้ออกซิน
สรุปผลการทดลองได้ว่า ก้านใบพืชที่จุ่มในออกซินมีการแตกรากหรือการงอกรากมากมายกว่าก้านใบพืชที่
จุ่มในน้ำ โดยไม่มีออกซิน แทบไม่มีการงอกออกมาเลยขอบคุณข้อมูล จากhttp://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/732-%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%99+%28Auxin%29?groupid=199
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น